กิจกรรม 24 - 28 มกราคม 2554 ♥



ตอบข้อ 1 เพราะอัตราความเร็ว8เมตร ต่อ 4 วนาที รดจะวิ่งสม่ำเสมอกัน ในทุกๆ2 เมตร


ตอบ ข้อ3 เพราะ เดินไปทางทิศเหมือน 300 เมตร ทิศตะวันออก อีก 400 เมตร
รวมทั้งสองทิศ เป็น700  หารด้วย การเดินทางทั้งหมด 500 วินาที
                                      จะได้คำตอบ


ตอบ ข้อ 4 เพราะ
 ความเร็วที่พุ้งออกมาในระดับเดียวกันปริมานของวัตถุก้อจะคงตัว ในระดับเดียวกัน

ตอบข้อ2 เพราะ
 การเหวี่ยงจุกยางเป็นวงกลม ทั้งหมด 20 รอบใช้เวลา5 วินาที เฉลี่ยต่อ 4 รอบ ต่อ 1 วินาที

                                     
ตอบ ข้อ2 เพราะ
 เหวี่ยงจุกยางในชุดการเคลื่อนที่แบบวงกลม  ให้เคลื่อนที่เป็นวงเหนือศีรษะ  ดังภาพ  สังเกตเส้นทางเดินของจุกยาง  อัตราเร็วในการเคลื่อนที่  ความยาวของเชือก  และแรงดึงเชือก
 ลองเหวี่ยงจุกยางด้วยเงื่อนไขที่ต่างไปจากเดิม  เช่น  เหวี่ยงด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น  แต่ความยาวของเชือกเท่าเดิม  หรือเหวี่ยงด้วยอัตราเร็วคงตัว  แต่เปลี่ยนความยาวของเชือก  หรือคิดเปลี่ยนเงื่อนไขอื่นๆตามความสนใจ  สังเกตและอธิบายเส้นทางการเคลื่อนที่ของจุกยากในแต่ละกรณี


ตอบข้อ4 เพราะ
เราอาจจะสร้างผิวโค้งจากเส้นตรงโดยใช้หลักการที่คล้ายกับการเขียนเส้นโค้งจากเส้นตรงในระนาบได้ดังนี้
          ใช้ไม้อัดหรือแผ่นพลาสติกสามแผ่นรูปจัตุรัสขนาดกว้างด้านละ 6 นิ้ว เจาะรูไม้อัดนี้เป็นแถวๆ ให้แต่ละแถวห่างกัน 1/4 นิ้ว และในแต่ละแถวให้รูปห่างกัน 1/4 นิ้ว เช่นเดียวกัน ประกอบไม้อัดหรือแผ่นพลาสติกทั้งสามแผ่นนี้ให้ตั้งฉากกันและกัน ใช้ด้ายไนลอนสีสอดขึ้นจากรูแถวริมนอกที่สุดของแผ่นไม้อัด แผ่นล่าง (รูหมายเลข 9) แล้วนำไปสอดที่รูปล่างสุดของแถว ก ในแผ่นตั้ง ดึงด้ายให้ตึงแล้วสอดเส้นด้ายออกทางรูที่สองนับจากข้างล่างในแถว ข ของแผ่นตั้งดึงด้ายให้ตึงแล้วกลับมาสอดลงในแถวนอกที่สุดในรูปถัดไปทางซ้ายมือของรูแรก (รูหมายเลข 8) และนำด้ายสอดขึ้นจากรูหมายเลข  7 แล้วกลับไปสอดเข้ารูที่ 3 นับจากข้างล่างของแถว ค ของแผ่นตั้ง ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนครบทุกรูของแถว นอกของแผ่นล่าง และทุกรูในแนวเส้นทแยงมุมของแผ่นตั้ง ชุดของเส้นตรงเหล่านี้จะเรียงกันไปจนดูคล้ายผิวโค้ง ถ้าเจาะรูไม้อัดหรือแผ่นพลาสติกให้ถี่มากขึ้นเท่าใด ลักษณะของเส้นด้ายก็จะเป็นผิวโค้งมากขึ้น
          โดยใช้หลักการเดียวกันนี้ เราอาจนำไปสร้างแบบแสดงลักษณะของผิวโค้งที่เกิดจากเส้นตรงหลายชุด ด้วยการสอดเส้นด้ายให้ออกจากรูปในแถวหนึ่งของไม้แบบแผ่นล่าง แล้วสอดเส้นด้ายเข้าในแถวทแยงมุมของไม้แบบแผ่นตั้ง ที่อยู่ทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้ ผู้อ่านจะสังเกตวิธีการได้จากรูปต่อไปนี้ และอาจจะนำไปประดิษฐ์แบบอื่นๆ ต่อไปอีกได้
          เมื่อสังเกตธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา จะแลเห็นว่าสวนใหญ่มีลักษณะเป็นผิวโค้งและมีขอบเป็นเส้นโค้ง เราจะแลเห็นความคล้ายคลึงกันระหว่างผิวโค้ง และเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์กับทางธรรมชาติ ธรรมชาติสร้างสิ่งต่างๆ อย่างมีระเบียบแลดูสวยงามคล้ายกับมีกฎเกณฑ์กำหนดไว้ การสร้างเส้นโค้งและผิวโค้งทางคณิตศาสตร์ก็เป็นไปอย่างมีกฎเกณฑ์และวิธีการ ด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ เราสามารถหาความยาวของเส้นโค้ง และหาเนื้อที่ของผิวโค้งได้ ตลอดจนสามารถหาปริมาตรรูปทรงที่ผิวโค้งนั้นห่อหุ้มอยู่ มนุษย์สามารถนำผลจากการศึกษาในเรื่องเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ทั้งในทางวิทยาศาสตร์  ทางศิลปะ ทางการออกแบบ ทำให้ผลิตผลทางหัตถกรรมและศิลปกรรมดูงดงามยิ่งขึ้น






ตอบข้อ 3. เพราะ การเคลื่อนที่และอัตราเร็วแสง
- เมื่อแสงเคลื่อนที่ในตัวกลางชนิดเดียวกัน แนวการเคลื่อนที่ของแสงจะเป็นเส้นตรง ในกรณีที่แสงเคลื่อนที่ผ่านเข้าใกล้วัตถุที่มีมวลมาก เช่น ดวงอาทิตย์ แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ทำให้แนวทางการเคลื่อนที่ของแสงเป็นเส้นโค้งได้


คำตอบคือข้อ4 เพราะ  สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ
สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบน
ประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล
เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf{B}\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์  \mathbf{B} \ นั้นถูกเรียกว่า
ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่  \mathbf{H} = \mathbf{B} / \mu \ ถูกเรียกว่า สนามแม่เหล็ก (หรือ ความแรงของสนามแม่เหล็ก) และคำเรียกนี้ก็ยังใช้กันติดปากในการแยกปริมาณทั้งสองนี้ เมื่อเราพิจารณาความตอบสนองต่อแม่เหล็กของวัสดุชนิดต่างๆ. แต่ในกรณีทั่วไปแล้ว สองปริมาณนี้ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก และเรามักใช้คำแทนปริมาณทั้งสองชนิดว่าสนามแม่เหล็ก
ในระบบหน่วย
SI  \mathbf{B} \ และ  \mathbf{H} \ นั้นมีหน่วยเป็นเทสลา (T) และ แอมแปร์/เมตร (A/m) หรือในระบบหน่วย cgs หน่วยของทั้งสองคือ เกาส์ (G) และ oersted (Oe)
                                        
ตอบข้อ 4 เพราะ

ตอบข้อ 3 เพราะ
รังสีแกมมา (อังกฤษ: gamma ray) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ (X-ray) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือก็คือคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10-13 นั่นเอง การที่ความยาวคลื่นสั้นนั้น ย่อมหมายถึงความถี่ที่สูง และพลังงานที่สูงตามไปด้วย ดังนั้นรังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด


โพรเจกไทล์ (Projectile) หมายถึง วัตถุที่ขว้างหรือยิงออกไป ทั้งนี้ในบริเวณใกล้ผิวโลกตามปกติการเคลื่นที่ของวัตถุดังกล่าวจะสังเกตได้ว่ามีวิถีโค้ง การเคลื่อนที่ตามรูปแบบที่วัตถุดังกล่าวเคลื่อนที่ที่ไป โดยเฉพาะเมื่อ ไม่มีแรงต้านทานของอากาศหรือแรงต้านทานมีผลน้อยจนไม่ต้องนำมาคิด จะเรียกว่า การเคลื่นที่แบบโพรเจกไทล์ ในกรณีที่แรงต้านทานของอากาศมีผลต่อการเคลื่อนไหวที่เนื่องจากวัตถุเบา หรือเนื่องจากการเคลื่อนที่เร็วและมีการหมุน วิถีการเคลบื่อนที่จะแตกต่างออกไปจากการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์และไม่นับเป็นการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เช่น การเคลื่นที่ของลูกแบดมินตัน ลูกกอล์ฟ

การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์เป้นการเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติ คือ เคลื่อนที่ในระดับและแนวดิ่งพร้อมกัน ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ในขณะที่แนวราบไม่มีความเร่งเพราะไม่มีแรงกระทำในแนวระดับ

  1. ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่
  2. อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดในสุญญากาศเท่ากับ 299,792,458 m/s ซึ่งเท่ากับ อัตราเร็วของแสง
  3. เป็นคลื่นตามขวาง
  4. ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
  5. ถูกปล่อยออกมาและถูกดูดกลืนได้โดยสสาร
  6. ไม่มีประจุไฟฟ้า
  7. คลื่นสามารถแทรกสอด สะท้อน หักเห และเลี้ยวเบนได้